Handheld Computer or Mobile Computer (คอมพิวเตอร์มือถือ) คืออะไร

Handheld Computer อุปกรณ์คอมพิวเตอร์มือถือ ใช้สำหรับพกพาสะดวก ง่ายต่อการใช้งาน  หรือที่เรียกอีกอย่างว่า Personal Digital Assistant (PDA) โดยคอมพิวเตอร์มือถือสามารถป้อนข้อมูลลงเครื่องผ่านคีย์บอร์ดขนาดเล็ก ซึ่งมีระบบปฏิบัติการ Windows CE และ Windows Mobile เป็นระบบปฎิบัติการในการใช้งาน โดยสามารถไปประยุกต์ใช้การ personal information manager (PIM) ระบบขายสินค้า (VanSales & Sales Force Automation : SmartSales) ระบบบันทึกการทำงาน (Field Force Automation: SmartService) ระบบตรวจนับทรัพย์สิน (Fixed Asset Tracking : SmartTrack) และระบบตรวจนับสินค้าคงคลัง (Physical Stock Checking : QuickCheck) ได้แก่ ตารางเวลา แนะนำการสั่งซื้อ ตรวจสอบประวัติการซื้อของลูกค้า

การเก็บเงินค้างชำระ ระบบควบคุมสินค้าคงคลังบนรถบรรทุก และการตรวจนับสินค้าประจำงวด การรับคืนสินค้าจากลูกค้า การตรวจนับสินค้าคงคลัง เก็บชื่อ หมายเลขโทรศัพท์ การคำนวณรวดเร็วง่ายดาย และเก็บบันทึกข้อความได้ เป็นต้น

โดย Handheld Computer ที่ผู้ใช้ให้ความสนใจ และนิยมในการใช้งานอย่างแพร่หลาย กับการใช้งานใน คอมพิวเตอร์มือถือ ชนิดนี้ ยี่ห้อที่มีวางขายและค่อนข้างที่จะเป็นที่นิยม เช่น DSIC Bluebird Pidion UROVO และ Bitel ซึ่งเหล่าผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์มือถือจะเป็นทั้งกลุ่มธุรกิจการกระจายสินค้า ธุรกิจการผลิต ธุรกิจค้าปลีก ธุรกิจขนส่ง ธุรกิจโรงงานอุตสาหกรรม ทั้งรัฐบาลและเอกชน

 

ริษัท บาร์โค้ด เทค ซิสเต็มส์ แอนด์ ซัพพลายส์ จำกัด

MOBILE SCANNER เครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบพกพา

MOBILE SCANNER เครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบพกพา

HandHeld Mobile เครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบไร้สาย ถูกออกแบบ ให้มาใช้งานกับ บารโค้ด ในโรงงานอุตสาหกรรมโดยเฉพาะ สามารถส่งผ่านข้อมูล โดย Wifi , Bluetooth หรือสาย Usb ส่วนมาก เครื่องอ่านบาร์โค้ดมือถือ จะถูกออกแบบมาให้มีความทนทานสูงต่อการใช้งาน มีหน้าจอทัสกรีน สามารถป้องกันฝุ่น ป้องกันน้ำ ทนต่อการตกหล่น มี Sofware ระบบปฏิบัติการ WindowcCE  ,Window Mobile , Android

เหมาะกับ อุตสาหกรรมประเภท คลังสินค้า ศูนย์กระจายสินค้า งานเช็คสต็อค งานโลจิคสติค

การดูแลรักษาเครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบไร้สาย

ในการจะนำข้อมูลออกมาจากบาร์โค้ดได้นั้น เครื่องอ่านบาร์โค้ดถือเป็นสิ่งสำคัญ แต่ถึงแม้เครื่องอ่านบาร์โค้ดจะถูกใช้งานเฉพาะการอ่านบาร์โค้ดเท่านั้น มันก็ยังจำเป็นต้องได้รับการดูแลรักษา เพราะถ้าหากเอาแต่ใช้งานเพียงอย่างเดียว สักวันหนึ่งมันก็ต้องเกิดการชำรุดเสียหายใช้งานได้ไม่ดีเหมือนเดิม จนบางทีต้องเปลี่ยนเครื่องใหม่มาใช้งานเลยทีเดียว
ทีนี้ หลายคนคงจะสงสัยว่าในเมื่อเรารู้อยู่แล้ว ว่าเครื่องอ่านบาร์โค้ดมีอยู่ 2 ประเภท คือ แบบตั้งโต๊ะและแบบเคลื่อนที่ แล้วเราต้องมีวิธีดูแลรักษาเครื่องทั้ง 2 แบบนั้นอย่างไรละ แล้ววิธีการดูแลจะต่างกันมากไหม ขอบอกว่าแม้จะเครื่องแบบตั้งโต๊ะ แบบเคลื่อนที่หรือแบบจับขโมย ก็ล้วนแต่มีวิธีดูแลรักษาเหมือน ๆ กัน ไม่ต้องมีวิธีการเฉพาะสำหรับเครื่องแต่ละแบบ ส่วนการดูแลรักษาจะมีอะไรบ้างนั้น ไปดูกันเลย
อย่างแรก คือ ต้องรู้จักทำความสะอาดเครื่องอยู่เสมอ อย่าให้มีฝุ่นหรือสิ่งสกปรกเกาะ เพราะแม้จะเป็นฝุ่นเพียงเล็กน้อย ก็สามารถทำให้เครื่องอ่านบาร์โค้ดทำงานผิดเพี้ยนได้ ซึ่งวิธีการทำความสะอาดก็ง่ายมาก เพียงแค่ใช้ผ้าสะอาด ชุบน้ำบิดหมาด ๆ แล้วนำมาเช็ดที่ตัวเครื่อง ยกเว้นบริเวณหัวอ่าน ขอให้ใช้สำลีแห้งในการเช็ดเพียงอย่างเดียว ที่สำคัญ คือ อย่าเอาพวกน้ำยาเคมี น้ำมันก๊าด น้ำมันเบนซิน มาเช็ดทำความสะอาดเครื่องอ่านบาร์โค้ดเป็นอันขาด เพราะอาจทำให้ตัวเครื่องได้รับความเสียหายและอีกอย่างหนึ่ง ถ้าเครื่องเริ่มมีสีซีด เก่า ไปตามสภาพ ไม่ได้เปื้อนสิ่งสกปรกอะไร ก็ไม่ควรขัด ถูอย่างรุนแรง โดยหวังจะให้เครื่องกลับมาเอี่ยมอีกครั้ง เพราะอาจทำให้ชิ้นส่วนบางอย่างได้รับความเสียหายได้ ขอให้ทำใจ ว่าอะไรเช็ดได้ก็เช็ดไป แต่อะไรเช็ดไม่ได้ก็ปล่อยมัน
การดูแลรักษาประการที่สอง คือ อย่าใช้งานเครื่องอ่านบาร์โค้ดติด ๆ กัน เป็นเวลาหลายชั่วโมง เพราะจะทำให้เกิดความร้อนขึ้นในเครื่องนำมาซึ่งอายุการใช้งานของเครื่องที่สั้นลง อย่างน้อยที่สุดขอให้ใช้งานสัก 2 ชั่วโมง แล้วพักสักครึ่งชั่วโมง พอเครื่องหายร้อนแล้วค่อยใช้งานใหม่ โมบายสแกนเนอร์ การพักเครื่องจะช่วยยืดอายุการใช้งานของเครื่องอ่านบาร์โค้ดออกไปได้มากเลยทีเดียว
การดูแลรักษาข้อสุดท้าย คือ ต้องหมั่นเช็คสภาพของเครื่องอ่านบาร์โค้ดอยู่เสมอ ต่อให้ยังทำงานดีอยู่ก็ตาม เพราะบางครั้งอาจมีอุปกรณ์บางอย่างเสียอยู่ภายใน แต่ไม่แสดงอาการออกมา การเช็คสภาพของเครื่องอยู่เสมอจะทำให้สามารถแก้ไขปัญหาในเครื่องได้อย่างทันท่วงที ไม่ปล่อยให้ปัญหาลุกลามบานปลายจนเครื่องเสียไปเลย ไม่สามารถใช้งานได้อีกตลอดกาล
ทั้ง 3 ข้อนี้ ก็คือ การดูแลรักษาเครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบหลัก ๆ ที่ทุกบริษัท ทุกองค์กรควรทำ หากบริษัทใดนำวิธีการเหล่านี้ไปใช้กับเครื่องอ่านบาร์โค้ดของตนเอง รับรองว่าเครื่องอ่านบาร์โค้ดของท่านจะมีอายุการใช้งานที่ยาวนานไม่มีปัญหาใด ๆ ตามมาอย่างแน่นอน

เครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบพกพา,เครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบไร้สาย,Point Mobile,โมบายสแกนเนอร์,เครื่องอ่านบาร์โค้ดมือถือ,เครื่องสแกนบาร์โค้ดไร้สาย

ริษัท บาร์โค้ด เทค ซิสเต็มส์ แอนด์ ซัพพลายส์ จำกัด

เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด

เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด

Barcode Printer หรือ Printer Barcode (ภาษาไทย : เครื่องพิมพ์ บาร์โค้ด) คืออะไร โดยส่วนใหญ่หน่วยงานต่างๆ จะใช้เครื่องพิมพ์บาร์โค้ดเพื่อพิมพ์บาร์โค้ดใส่สติ๊กเกอร์เพื่อทำรหัส เพื่อความสะดวกต่อการเก็บข้อมูล Barcode Printer เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด (หรือ Barcode Printer เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด) เป็นอุปกรณ์ที่ต้องต่อพ่วงกับคอมพิวเตอร์สำหรับการพิมพ์สติ๊กเกอร์บาร์โค้ด (Sticker Barcode) ป้ายชื่อหรือแท็กที่สามารถใช้ติดกับอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า หรือสินค้าต่างๆ สินค้าอุปโภค สินค้าบริโภค เครื่องพิมพ์บาร์โค้ดที่ใช้ทั่วไปจะพิมพ์กับสติ๊กเกอร์บาร์โค้ด หรือป้ายสติ๊กเกอร์ (แท็ก) หรือ พิมพ์ที่กล่องก่อนที่ทำการจัดส่งสินค้า เพื่อเพิ่มความสะดวกในการจัดเก็บข้อมูลได้ง่ายขึ้น ส่วนใหญ่สำหรับเครื่องพิมพ์บาร์โค้ดในการพิมพ์ จะแบ่งเป็น 2 ระบบ มีทั้งระบบ Thermal Transfer และ ระบบ Direct Thermal ดังต่อไปนี้

ระบบ Thermal Transfer ซึ่งเป็นระบบที่ต้องใช้ริบบอนบาร์โค้ดในการพิมพ์ คนส่วนใหญ่จะไม่ทราบว่า ริบบอนคืออะไร ริบบอน คือ หมึกที่เอาไว้ใช้ในการพิมพ์บาร์โค้ดโดยจะผ่านระบบความร้อนของหัวพิมพ์ ซึ่งมีความละเอียดแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับความละเอียดของเครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ริบบอน มีความทนทานแตกต่างกันไป แบ่งเป็น 3 ประเภท Ribbon Wax ไม่ค่อยทนทานต่อแรงขูดขีด, Ribbon Wax Resin มีความคงทน ทนรอยขูดขีดได้, Ribbon Resin หรือ Super Resin ไม่สามารถขูดออกได้เลย มีความคงทนสูงมาก

ระบบ Direct Thermal ระบบใช้ความร้อนโดยไม่ต้องใช้ ริบบอนในการพิมพ์งานแต่ใช้ความร้อนของหัวพิมพ์ พิมพ์ไปที่สติ๊กเกอร์โดยตรง แต่สติ๊กเกอร์ที่ต้องใช้นั้น จะต้องเป็นสติ๊กเกอร์เนื้อ Direct Thermal สติ๊กเกอร์ชนิดนี้จะมีสารเคมีเคลือบไว้ทำให้สามารถพิมพ์โดยไม่ต้องใช้ริบบอน

ริษัท บาร์โค้ด เทค ซิสเต็มส์ แอนด์ ซัพพลายส์ จำกัด จำหน่ายเครื่องพิมพ์บาร์โค้ดทุกรุ่นทุกยี่ห้อ ราคาถูก

ระบบบาร์โค้ดต่างๆ

ระบบบาร์โค้ดต่างๆ 

วันนี้ดิฉันจะมาคุยกันในเรื่องของระบบบาร์โค้ดต่างๆ เชื่อว่าหลายๆคนคงจะกำลังสนใจเกี่ยวกับระบบบาร์โค้ด โดยเฉพาะคนที่มีกิจการค้า ขายของ ขายสินค้า เป็นของตัวเอง อย่างเช่น ร้านขายปลีก ร้านขายส่ง ร้านขาย อุปกรณ์วัสดุ  เครื่องเขียน ร้านขายวัสดุก่อสร้าง หรือแม้แต่กระทั่งร้านประเภทขายอุปกรณ์เครื่องมือเสริมสวย รวมถึง เครื่องสำอางด้วย ขายมาก็หลายปีแล้ว แต่ยังใช้แต่วิธีการดั้งเดิมคือการใช้แรงงานคนในการใช้เครื่องคิดเลข หรือ แม้แต่การเขียน,การจด บิลด้วยมือ หลายๆคนจึงสนใจที่อยากจะเปลี่ยนแปลงระบบหน้าร้านมาเป็นการใช้บาร์โค้ด เพราะ นอกจากจะทำให้ช่วยคิดเงินได้ถูกต้องแม่นยำ สะดวกสบายรวดเร็วประหยัดเวลาแล้ว ยังช่วยให้การตรวจสอบเช็คสต๊อกง่ายขึ้นอีกด้วย จริงๆก็มีบริการรับพิมพ์บาร์โค้ด หรือว่าบริการที่รับจัดการระบบทุกอย่างเกี่ยวกับบาร์โค้ด หรือแม้แต่โปรแกรมที่ช่วยเหลือสนับสนุนก็ตาม แต่ว่าราคามันก็ค่อนข้างจะสูง ในที่นี้เราจะไม่ขอพูดถึงการใช้บริการรับพิมพ์บาร์โค้ดมาก แต่จะขอมุ่งเน้นไปที่การทำเองมากกว่า ก่อนอื่นต้องขอแนะนำก่อนว่าระบบบาร์โค้ดเหมาะกับกิจการประเภทใด? ระบบบาร์โค้ดเหมาะที่จะใช้กับร้านค้าที่มีสินค้าหลากหลายและมีจำนวนมาก เหมาะสำหรับผู้ที่ไม่ค่อยมีความรู้ด้านบัญชี หรือไม่อยากจ้างคน เหมาะสำหรับร้านค้าที่ต้องให้การบริการแบบสะดวกสบายรวดเร็วแก่ลูกค้า และสำหรับร้านค้าที่กังวลเกี่ยวกับรายรับ รายจ่าย เชื่อไหมคะ หลายๆร้านค้าที่ขายดีจนเจ๊ง เพราะเนื่องจากว่าไม่รู้ถึงจำนวนปริมาณสินค้าที่ขาย สักแต่ว่าขายอย่างเดียวไม่ได้ทำรายการบัญชี ถ้าใครมีเงินทุนก็แนะนำเลยค่ะจ้างวานบริการรับพิมพ์บาร์โค้ดหรือซื้อโปรแกรมเอาเลยจะง่ายกว่า แต่ถ้าหากว่าใครงบน้อย ก็สามารถทำเองได้เช่นกัน ถ้าหากความรู้ของคุณเป็นศูนย์เลยก็เริ่มจากง่ายๆ อย่างเช่น หาซื้อกระดาษสำหรับการพิมพ์บาร์โค้ดมาก่อน ส่วนใหญ่แล้วในซองกระดาษจะมีแผ่น โปรแกรมบาร์โค้ด สำหรับการลงใน PC มาให้ แล้วก็ทดลองพิมพ์ตามที่เค้าแนะนำในแผ่นเลยค่ะ แล้วก็ลองรันรหัสโค้ด ดูซักชุดนึง และที่สำคัญเลยก็คือคุณต้องซื้อเครื่องยิงบาร์โค้ด ตอนซื้ออย่าลืมที่จะจด Code ของบาร์โค้ดไปด้วยว่าคุณใช้ชุดไหน ลักษณะของรหัสเป็นอย่างไร นี่คือวิธีการง่ายๆที่ประหยัดที่สุด เมื่อคุณได้โปรแกรมพิมพ์บาร์โค้ดและตัวยิงบาร์โค้ดมาแล้ว หลังจากนั้นก็ลองฝึกดู จะเป็นเองค่ะ เมื่อทำเป็นแล้วก็ไม่ยากในการที่จะขยายไปทำโปรแกรมคำนวณ บัญชีอะไรต่างๆ วิธีการนี้คือวิธีที่ประหยัดที่สุดแล้ว เหมาะสำหรับคนที่ไม่ต้องการเสียเงินให้กับบริษัทที่รับพิมพ์บาร์โค้ด อันที่จริง แล้วคุณสามารถที่จะซื้อเพียงแค่เครื่องยิงบาร์โค้ดอย่างเดียวก็เพียงพอแล้ว ไม่จำเป็นที่จะต้องไปพิมพ์บาร์โค้ดใหม่ เพราะบาร์โค้ดมักจะใช้ด้วยกันได้อยู่แล้ว เปรียบเทียบง่ายๆก็คือเครื่องยิงบาร์โค้ดก็เหมือนคีย์บอร์ด แทนที่จะเปลี่ยนจากการพิมพ์ก็เป็นการยิงเท่านั้นแหละค่ะ ส่วนใหญ่สินค้าที่รับมาขายจากบริษัทใหญ่ๆก็มักจะมีบาร์โค้ดติดมากับตัวสินค้าอยู่แล้ว ถ้าเกิดเป็นเช่นนี้ก็ง่ายมากๆเลยค่ะ เพราะเราก็จะลดขั้นตอน และลดค่าใช้จ่ายในการพิมพ์บาร์โค้ดไปได้ด้วย แต่สำหรับสินค้าที่รับมาจากบริษัทเล็กๆที่ไม่มีบาร์โค้ดติดอยู่ที่ตัวสินค้าก็สามารถลองใช้สติ๊กเกอร์ทำเองดูได้ ใช้เครื่องปริ้นเลเซอร์เพื่อความคมชัด ลองทำใส่กระดาษ A4 ดู ถ้านำไปยิงแล้วผ่านก็ถือว่าใช้ได้ หลังจากนั้น ก็สามารถพิมพ์ใส่กระดาษสติ๊กเกอร์แบบเอนกประสงค์ได้เลย หรือว่าจะเอาประหยัดก็เป็นกระดาษธรรมดาและใช้สก๊อตเทปแปะก็ได้แต่จะต้องย่อขนาดลงและอาจจะหลุดได้ แต่ก็จะป้องกันการลอกของหมึกพิมพ์ได้ ถ้าหากใช้เครื่องพิมพ์ด้วยเลเซอร์ควรใช้กระดาษแบบด้าน หรือถ้าจะให้ทนที่สุดก็ต้องใช้เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด แต่อาจจะไม่คุ้มเพราะค่าใช้จ่ายก็จะสูงเพิ่ม เปลี่ยนเป็นใช้กระดาษสติ๊กเกอร์จะดีกว่า ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับความต้องการและความพอใจของท่าน ถ้าถามว่าระหว่างใช้บริการบริษัทที่รับพิมพ์บาร์โค้ดหรือว่าทำเองดีกว่า ทั้งนี้ก็ต้องขึ้นอยู่กับความต้องการและทุนทรัพย์ของแต่ละท่าน ถ้าทำเองได้ก็สนับสนุนให้ทำเองดีกว่า เมื่อมีเวลาก็ควรซื้อหนังสือมาอ่านศึกษารายละเอียด ถ้าอยากได้ความสะดวกสบายก็แนะนำให้ใช้บริการของ{บริษัท|บ.}ที่รับพิมพ์บาร์โค้ด เพราะเนื่องจากจะได้บริการที่ครบมากกว่า มีหลากหลายชโปรแกรม แต่ข้อเสียก็คือว่าราคาที่แพง และอาจจะไม่ยืดหยุ่นต่อการใช้งาน เพราะว่ากิจการร้านขายต่างๆของท่านก็จะแตกต่างกับของคนอื่นๆ ถ้าร้านที่มีความพิเศษหรือไม่เหมือนใครก็อาจจะไม่ค่อยตอบโจทย์ได้ตรงเท่าไหร่ ในขณะเดียวกันอาจจะต้องรันฟังค์ชั่นบางอย่างที่ไม่จำเป็นทำให้เสียเวลาก็ได้ และบางโปรแกรมก็จะมีข้อจำกัด เงื่อนไขเรื่องรุ่นของ Windows อาจจะใช้ได้เฉพาะกับ Windows รุ่นนี้ แต่ใช้กับรุ่นที่เก่ากว่า หรือใหม่กว่าไม่ได้ ถ้าแบบนี้การไปซื้อหนังสือมาอ่านแล้วทำให้มันตอบโจทย์ของกิจการของท่านจะดีกว่าการใช้บริการรับพิมพ์บาร์โค้ด
หวังว่าทุกท่านจะได้รับความรู้ไปเยอะแล้วนะคะสำหรับการแนะนำ ทั้งนี้ที่สุดของการตัดสินใจที่ว่าจะเลือกทำเองหรือใช้บริการรับพิมพ์บาร์โค้ดก็ต้องอยู่ที่ดุลยพินิจของแต่ละท่าน แต่เชื่อเถอะค่ะว่าการลงทุนในระบบบาร์โค้ดไม่ว่าจะวิธีไหนย่อมคุ้มค่ากว่าการใช้ระบบเก่าๆล้าหลังแบบเดิมอย่างแน่นอน เราจะมาขอสรุปสาระให้เข้าใจง่ายๆกันเลยรวดเดียวนะคะ
1. การยิงบาร์โค้ด จำเป็นจะต้องใช้เครื่องสแกนบาร์โค้ด หรือเครื่องอ่านบาร์โค้ด หรือเครื่องยิงบาร์โค้ดนั่นเอง เรียกได้หลายแบบค่ะ เมื่อสแกนตรงบาร์โค้ดเสร็จเครื่องก็จะอ่านที่แท่งบาร์โค้ดแล้วแปลความหมายออกมาเป็นอักษรหรือตัวเลขหรือชุดข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ และจะเข้าไปอยู่ในโปรแกรมในเครื่อง
2. เครื่องสแกนบาร์โค้ดที่ต่ออยู่กับคอมพิวเตอร์นั้นทำความเข้าใจง่ายๆเลยก็คือมันก็เหมือนกับคีย์บอร์ดนั่นเองเพียงแต่เราเปลี่ยนมาใช้วิธียิงแทนที่จะคีย์มันลงไป เรียกได้ว่าเสียงดังตึ๊ดเดียวก็คือเรียบร้อย ไม่ต้องมานั่งงมหาตัวอักษร โดยเฉพาะอย่างยิ่งตัวเลข เมื่อสินค้ามีจำนวนมากก็ย่อมมีบาร์โค้ดหรือรหัสโค้ดสินค้าที่ต่างกันไป จำนวนหลักก็มีมากขึ้น การผิดพลาดก็ย่อมเยอะขึ้นถ้าใช้วิธีการคีย์ลงบนคีย์บอร์ด แต่เมื่อใช้การแสกนบาร์โค้ดก็จะง่ายมากขึ้น และรวดเร็ว แม่นยำ อีกด้วย หมดกังวลเรื่องข้อผิดพลาดในการคีย์ข้อมูลผิดไปได้อีกเปราะนึง
3. การพิมพ์บาร์โค้ดติดสินค้าต้องใช้โปรแกรมพิมพ์บาร์โค้ด หรืออาจจะใช้เครื่องปริ้นทั่วๆไปก็ได้ สำหรับโปรแกรมพิมพ์บาร์โค้ดนั้นก็หาโหลดฟรีได้ทั่วไปลองหาข้อมูลดูค่ะ หรือบางทีโปรแกรม POS บางตัวก็จะมีเมนูพิมพ์บาร์โค้ดในตัวอยู่แล้ว
4. โปรแกรม POS หรือโปรแกรมขายหน้าร้าน ทั่วๆไปโดยพื้นฐานจะเขียนให้รองรับการใช้งานของเครื่องสแกนบาร์โค้ด เพียงแค่เรานำเครื่องสแกนบาร์โค้ดต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์ก็สามารถใช้ได้เรียบร้อย แต่ว่าบาร์โค้ดนั้นมีหลายระบบและหลายรูปแบบก่อนที่จะหาซื้อโปรแกรมอย่าลืมดูด้วยว่าโปรแกรม POS รองรับบาร์โค้ดแบบไหนบ้าง และใช้กับเครื่องสแกนบาร์โค้ดแบบไหนได้บ้าง

เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด Honeywell รุ่น PC23d

เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด Honeywell รุ่น PC23d

เครื่องพิมพ์ฉลากและบาร์โค้ดขนาดกะทัดรัด เหมาะสำหรับการใช้งานที่มีพื้นที่จำกัด ติดตั้งง่ายสามารถพิมพ์ฉลากได้ทันทีในที่ที่ต้องการ พิมพ์ด้วยความเร็ว 8 นิ้วต่อวินาที ความสามารถในการพิมพ์ตัวอักษร, กราฟฟิก และบาร์โค้ด ให้ความคมชัด 203 จุดต่อนิ้ว และ 300 จุดต่อนิ้ว มีหน่วยความจำ 128 MB Flash, 128 MB RAM (DDR 2) เครื่องพิมพ์แบบถ่ายโอนความร้อนโดยตรง (Direct Thermal) ความละเอียดสูงสุด 203DPI (1 ตารางนิ้วต่อ203 จุดสี) หน้ากว้างในการพิมพ์ 60 มม. (2.36นิ้ว) ออกแบบมาสำหรับธุรกิจขนาดเล็กถึงขนาดกลาง และกลุ่มเอสเอ็มอี เหมาะกับการใช้งานในสำนักงาน ธุรกิจค้าปลีก มินิมาร์ท ร้านอาหาร งานบริการไปรษณีย์ งานขายตั๋ว โรงแรม โรงภาพยนตร์ เน้นความสะดวกรวดเร็ว สามารถพิมพ์ฉลากได้ทันทีในที่ที่ต้องการ

ความละเอียดการพิมพ์ 203 DPI (1 ตารางนิ้วต่อ 203 จุดสี)
ความเร็วสูงสุดในการพิมพ์ 8 IPS (203.2 มิลลิเมตร/วินาที)
ระบบการพิมพ์ โอนถ่ายความร้อนโดยตรง
หน่วยความจำ 128 MB Flash, 128 MB RAM (DDR2)
ความกว้างในการพิมพ์ 2.36 นิ้ว (60 มิลลิเมตร)
ความยาวในการพิมพ์ 68 นิ้ว (1,727 มิลลิเมตร)
การเชื่อมต่อ ซีเรียล , พาราเรียล , ยูเอสบี 2.0

เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด Honeywell รุ่น PC43d

เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด Honeywell รุ่น PC43d 

เครื่องพิมพ์ฉลากและบาร์โค้ดขนาดกะทัดรัดออกแบบมาสำหรับธุรกิจขนาดเล็กถึง ขนาดกลาง และกลุ่มเอสเอ็มอี เหมาะกับการใช้งานในสำนักงาน ธุรกิจค้าปลีก มินิมาร์ท ร้านอาหาร งานบริการไปรษณีย์ งานขายตั๋ว โรงแรม โรงภาพยนตร์ เน้นความสะดวกรวดเร็ว สามารถพิมพ์ฉลากได้ทันทีในที่ที่ต้องการ การติดตั้งและใช้งานเครื่องง่าย ตัวเครื่องมีขนาดกะทัดรัด เหมาะสำหรับพื้นที่จำกัด เคลื่อนย้ายสะดวก พิมพ์ด้วยความเร็ว 8 นิ้วต่อวินาที ให้ความสามารถในการพิมพ์ตัวอักษร, กราฟฟิก และบาร์โค้ด ให้ความคมชัด 203 จุดต่อนิ้ว และ 300 จุดต่อนิ้ว มีหน่วยความจำ 128 MB Flash, 128 MB RAM (DDR 2) มีช่องให้กระดาษออกอยู่ที่ด้านหน้าตัวเครื่องพิมพ์ แสดงข้อมูลได้ 10 ภาษา การพิมพ์ใช้เทคโนโลยีการพิมพ์แบบความร้อนโดยตรงคือ Direct Thermal และ ใช้เทคโนโลยีการพิมพ์แบบถ่ายเทความร้อน (ใช้ริบบอน) ที่เรียกว่า Thermal Transfer เหมาะกับการ ใช้กับงานที่ต้องการความคงทนและมีอายุการใช้งานนาน เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า, อุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์ เป็นต้น

 

Zebra

Zebra ก่อตั้งขึ้นเมื่อปีพ. ศ. 2512 โดยมีชื่อว่า Data Specialties Incorporated ซึ่งเป็นผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าแรงสูง บริษัท เปลี่ยนโฟกัสไปที่การติดฉลากตามความต้องการและระบบจำหน่ายตั๋วในปี 1982 และกลายเป็น Zebra Technologies Corporation ในปีพ. ศ. 2529 Zebra ได้กลายเป็น บริษัท ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ในปีพ. ศ. 2534 ตั้งแต่ปีพศ. 2551 Zebra ได้เอาต์ซอร์สเอาต์ซอร์สส่วนใหญ่ผลิตเครื่องพิมพ์ของ Jabil Circuit ในกว่างโจว , จีน [3]

ในปี 1998 บริษัท Zebra Technologies ได้รวมกิจการกับ Eltron International, Inc. [4] 2543 ในระบบสารสนเทศของ Comtec ได้รับ [5] ตามมาด้วยการซื้อ Atlantek 2546, inc [6]

ในปี 2547 บริษัท ได้ขยายการผลิตฉลากอัจฉริยะ RFID [7] ซื้อระบบการค้าปลีกระหว่างประเทศในปีหน้า [8] ในปีต่อไปนี้ Swecoin, WhereNet Corp, [9] Proveo เอจี [10] และ Navis โฮลดิ้งส์ (ภายหลัง divested 2554) [11]

บริษัท ก่อตั้ง Enterprise Solutions Group (ESG) ในปีพ. ศ. 2551; เปลี่ยนชื่อเป็น Zebra Enterprise Solutions ในปี 2009 ในปีเดียว Multispectral Solutions, Inc. ได้ซื้อกิจการ [12] ในปี 2012 บริษัท ได้ซื้อ LaserBand, [13] และ StepOne Systems ในราคาซื้อเงินสด 1.5 ล้านเหรียญ [14]

2013 เห็นการซื้อกิจการของฮาร์ทระบบสำหรับ $ 94,000,000 ในเงินสดจาก บริษัท ร่วมทุนเอกชน Topspin LBO [15] ในปี 2014 ธุรกิจของ Motorola Solutions ‘Enterprise ถูกซื้อในธุรกรรมมูลค่า 3.45 พันล้านเหรียญโดยให้บริการคอมพิวเตอร์มือถือและข้อมูลขั้นสูงในการรวบรวมเทคโนโลยีการสื่อสารและบริการต่างๆ [15]

ในรายงานประจำปีสำหรับปีสิ้นสุดในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2558 บริษัท ได้ให้บริการผลิตภัณฑ์และบริการในกว่า 170 ประเทศโดยมีโรงงานประมาณ 120 แห่งและพนักงาน 7,000 คนทั่วโลก

SATO

ซาโต้ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2483 เพื่อพัฒนาผลิตและจำหน่ายเครื่องจักรสำหรับการแปรรูปไม้ไผ่หวายและปาล์ม ตลอดประวัติศาสตร์ของ บริษัท ได้รับการหมกมุ่นอยู่กับความต้องการในการประชุมสำหรับการใช้แรงงานอย่างมีประสิทธิภาพ ในปีพ. ศ. 2505 ผู้ก่อตั้ง Yo Sato ได้คิดค้นผู้ผลิตฉลากด้วยมือ หลังจากนั้น บริษัท ก็กลายเป็นผู้บุกเบิกการทำเครื่องหมายราคาและสามารถเปิดตลาดใหม่ ๆ ได้เมื่อผู้ผลิตฉลากสินค้ากลายเป็นแบรนด์ยอดฮิตทั่วโลก ในปีพ. ศ. 2507 เราเริ่มผลิตฉลากด้วยมือโดยอิสระเพื่อก้าวไปไกลกว่ากระบวนทัศน์ของผู้ผลิตเครื่องจักรเพื่อสร้างรากฐานของธุรกิจจัดหาของเรา

ด้วยการเกิดจุดขายของ (POS) ในปี 1970 ซาโต้ได้พัฒนารูปแบบฉลากใหม่ที่เข้ากันได้กับ OCR และบาร์โค้ด ในปีพ. ศ. 2524 บริษัท ฯ ได้กลายเป็นผู้ผลิตชั้นนำด้านโซลูชั่นการจัดเก็บในร้านค้าเมื่อคิดค้นเครื่องถ่ายโอนความร้อนครั้งแรกของโลกสำหรับระบบ JAN / UPC / EAN POS
ตั้งแต่นั้นมาแอปพลิเคชันสำหรับบาร์โค้ดได้แพร่กระจายอย่างรวดเร็วสำหรับการจัดการสินค้าในหลายอุตสาหกรรมรวมทั้งการค้าปลีกการผลิตการขนส่งการแปรรูปอาหารและการดูแลทางการแพทย์ ในขณะเดียวกันการใช้รหัส 2D ซึ่งทำให้ผู้ใช้สามารถป้อนข้อมูลลงในพื้นที่ขนาดเล็กได้เพิ่มมากขึ้นและเป็นวิธีการที่ผู้บริโภคได้รับข้อมูลโดยใช้โทรศัพท์มือถือ

ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา RFID ซึ่งสื่อสารและอ่านข้อมูลโดยใช้คลื่นวิทยุได้รับความสนใจและบรรลุความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วเป็นวิธีการตรวจสอบขั้นสูง SATO ใช้ความเชี่ยวชาญด้านการระบุตัวตนอัตโนมัติซึ่งได้พัฒนาขึ้นมาเป็นเวลาหลายปีในด้านโค้ดบาร์โค้ดและโค้ด 2D เพื่อพัฒนาและทำการตลาดเครื่องพิมพ์ RFID เป็นครั้งแรกในประเทศญี่ปุ่นในปี 2546 SATO กำลังทำงานเพื่อแนะนำ RFID ร่วมกับ บริษัท ชั้นนำในญี่ปุ่นและต่างประเทศ การพัฒนาระบบระบุอัตลักษณ์อัตโนมัติ

เครื่องอ่านบาร์โค้ด Honeywell HH660

Honeywell
แบร์นชั้นนำระดับโลกด้านระบบบาร์โค้ด จำหน่ายทั้ง เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ดมือถือ และอื่นๆที่เกี่ยวกับด้านบาร์โค้ด และยังมีบริษัทในเครืออีกมากมายๆ ดังนั้นจึงมั่นใจได้ว่า ตัวผลิตภัณฑ์มีคุณภาพได้มาตรฐาน ได้รับการยอมรับจากบริษัทชั้นนำของโลก ทาง ห้างหุ้นส่วนจำกัด เดอะ เพอเฟ็ค เลเบล แอนด์ บาร์โค๊ด เป็นตัวแทนจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของ Honeywell มีบริการหลังการขาย สนใจติดต่อสอบถามตลอด 24 ชม.

Honeywell HH660 
ในหลายอุตสาหกรรมบาร์โค้ด 2D กลายเป็นของใหม่ มาตรฐาน. ไม่เพียง แต่จะสามารถเก็บข้อมูลได้มากขึ้นในแบบ 2D เท่านั้นรหัส แต่กฎระเบียบของรัฐบาลและเอกสารผู้จัดจำหน่ายมี
ต้องได้รับการยอมรับ รัฐวิสาหกิจยังต้องการยกระดับแนวโน้มที่เกิดขึ้นใหม่ซึ่งต้องใช้เทคโนโลยีการถ่ายภาพพื้นที่ในปัจจุบันหรือในอนาคตอันใกล้โดยไม่จำเป็นต้องซื้อเพิ่มเติมสแกนฮาร์ดแวร์หรือทำให้การสแกนลดลง
HH660 มีการสแกนบาร์โค้ดแบบ 1D, 2D และ PDF417 ที่ก้าวร้าวประสิทธิภาพแม้ในขณะอ่านหนังสือเสียหายภาพปกคลุมบางส่วนหรือบาร์โค้ดที่พิมพ์ไม่ดี HH660 มีการถอดรหัสแบบกำหนดเอง
อัลกอริธึมและเซ็นเซอร์ความละเอียดที่เพิ่มขึ้นเพื่อความรวดเร็วปราศจากปัญหาสแกนผลิตภัณฑ์นี้มีมูลค่าพิเศษสำหรับองค์กรต่างๆต้องการความเก่งกาจของเทคโนโลยีการถ่ายภาพพื้นที่ในปัจจุบันหรืออาจ
ต้องการมันในอนาคต HH660 แสดงถึงความสามารถที่แข็งแกร่งอ่านบาร์โค้ดที่มีสีสันและบาร์โค้ดบนมือถือหน้าจอและดังนั้นจึงสามารถที่จะครอบคลุมความหลากหลายของใหม่
ประยุกต์ในตลาดเกิดใหม่ ผลิตโดย บริษัทด้วยประสบการณ์หลายสิบปีในการจับภาพข้อมูลคุณภาพด้านวิศวกรรม solutions, เครื่องสแกนภาพพื้นที่ HH660 ของ Honeywell จะเป็นการลงทุนในอุดมคติของคุณ

จุดเด่น Honeywell HH660 
– อ่านบาร์โค้ดได้ทั้ง 1มิติ และ 2มิติ
– อ่านบาร์โค้ดได้รวดเร็ว
– น้ำหนักเบา และแข็งแรงทนทาน

เครื่องอ่านบาร์โค้ด กับมาตรฐานบาร์โค้ด

เครื่องอ่านบาร์โค้ด กับมาตรฐานบาร์โค้ด
เครื่องอ่านบาร์โค้ด กับมาตรฐานบาร์โค้ด บาร์โค้ดแท่งสีดำบนพื้นสีขาวที่เราพบเห็นตามผลิตภัณฑ์ต่างๆนั้น ความจริงแล้วมีรหัสตัวเลขที่บ่งบอกถึงข้อมูลของสินค้าโดยใช้ เครื่องอ่านบาร์โค้ด เป็นแปลงสัญญาณดิจิตอลแล้วส่งเข้าคอมพิวเตอร์เพื่อบันทึกข้อมูล และสิ่งที่สำคัญที่เราต้องเรียนรู้อีกอย่างนั่นคือ มาตรฐานบาร์โค้ด  ที่เราต้องใช้ในธุรกิจ
จริงๆแล้วมาตรฐานบาร์โค้ดจะได้รับการกำหนดจากสภาอุตสาหกรรมไทยเพื่อให้ เครื่องอ่านบาร์โค้ด ทำการอ่านค่าได้ถูกต้อง แต่ว่าหากเราเป็นคู่ค้าทางธุรกิจก็น่าจะต้องใช้บาร์โค้ดที่ใช้งานร่วมกันได้ก็ยิ่งทำให้การซื้อขายนั้นทำได้ง่ายมากขึ้น  และมาตรฐานบาร์โค้ดที่นิยมใช้กัน ก็คือ  สำหรับสินค้าปลีก,ซุปเปอร์มาร์เก็ต   จะใช้บาร์โค้ด  UPC,EAN,ISBN-13   แต่ถ้าเป็นของไปรษณีย์ (อเมริกา)  จะใช้บาร์โค้ด POSTNET  และสำหรับงานขนส่งสินค้า  สินค้าคงคลัง ลอจิสติกหรือชิปปิ้ง จะใช้บาร์โค้ดตัวนี้  Code128,Code39,Interleaved 2of5 (ITF)  และยังมีมาตรฐานบาร์โค้ดที่แยกย่อยไปอีกมากมายซึ่งสามารถศึกษาและเรียนรู้กันได้ ซึ่งจะมีทั้งที่เลิกใช้ไปแล้ว และยังนิยมใช้กันอยู่ในปัจจุบัน   แต่หากเราไม่ค่อยเข้าใจในเรื่องของการออกรหัสบาร์โค้ดล่ะก็  ควรจะติดต่อสภาอุตสาหกรรมไทยหรือ GS 1 เพื่อขอรหัสบาร์โค้ดที่ถูกต้อง
เพราะฉะนั้นมาตรฐานบาร์โค้ดจึงมีความสำคัญต่อเครื่องอ่านบาร์โค้ดมาก  เพราะว่าถ้าไม่มีมาตรฐาน  เครื่องอ่านบาร์โค้ด ก็ไม่สามารถอ่านค่าของบาร์โค้ดได้

ข้อควรระวังเรื่องกระดาษสติ๊กเกอร์สำหรับ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด

หากใครที่กำลังใช้งาน เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด อยู่ และอยากที่จะถนอม เครื่องพิมพ์บาร์โค้ดของท่านไว้ใช้งานนานๆ ก็สมควรเป็นอย่างยิ่งที่จะอ่านบทความนี้ เพราะเราได้ทำการแนะนำข้อควรระวังเรื่องสติ๊กเกอร์สำหรับ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เพื่อการใช้งานที่ยาวนานของท่านนั่นเอง
1.ฝุ่นละออง โดยฝุ่นละอองต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นบริเวณห้องหรือฝุ่นละอองจากแกนกระดาษอาจจะเข้าที่ตัว เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ได้
2.ชนิดของสติ๊กเกอร์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ไม่ได้ถูกออกแบบมาให้ใช้งานกับกระดาษทุกประเภท เพราะฉะนั้นแล้วก่อนการเลือกใช้งานกระดาษประเภทต่างๆกับ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด นั้น ก็ควรที่จะศึกษาถึงข้อมูลทั้งของตัวกระดาษและตัว เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ให้ดีซะก่อน
3.กาว โดยที่ว่านี้ก็คือกาวที่ติดอยู่ตามลูกยางของ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ที่มาจากการฉีกสติ๊กเกอร์ไม่ถูกต้อง
4.หน้ากว้างของกระดาษ เรื่องหน้ากว้างของกระดาษอาจจะเป็นเรื่องง่ายๆ แต่ก็ทำให้หลายคนลืม และพลาดพลั้งมาแล้ว เพราะงั้นแล้วก่อนการเลือกซื้อกระดาษขนาดต่างๆมาใช้กับเครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ก็อย่าลืมศึกษาข้อมูลดูให้ดีก่อน

ข้อจำกัดที่ควรพึงระวังเมื่อใช้งาน เครื่องอ่านบาร์โค้ด

เครื่องอ่านบาร์โค้ด อาจมีข้อจำกัดในการทำงาน ถ้าคุณนำ เครื่องอ่านบาร์โค้ด ไปใช้งานในสภาพแวดล้อมที่เปียกชื้น คลื่นแสงที่ใช้ในการอ่านรหัสบาร์โค้ดจะถูกหักเหได้ง่าย เมื่อแถบบาร์โค้ดมีการเปียกชื้นก็จะทำให้การอ่านข้อมูลในแถบบาร์โค้ดเกิดการผิดพลาดได้ และในขณะที่ เครื่องอ่านบาร์โค้ด กำลังอ่านแถบบาร์โค้ดนั้น จะต้องให้เห็นแถบบาร์โค้ดอย่างครบถ้วนชัดเจน หากแถบบาร์โค้ดถูกปิดบัง เห็นได้ไม่ชัดหรือเต็มแถบบาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด ก็จะไม่สามารถที่จะอ่านข้อมูลได้ อีกข้อหนึ่งซึ่งผู้ใช้งาน เครื่องอ่านบาร์โค้ด ควรทำความเข้าใจก็คือ เครื่องอ่านบาร์โค้ด ไม่สามารถที่จะอ่านแถบบาร์โค้ดที่เคลื่อนไหวด้วยความรวดเร็วได้
ดังนั้นหากแถบบาร์โค้ดติดอยู่บนวัตถุที่เคลื่อนไหวด้วยความรวดเร็วสูง จะส่งผลทำให้ความแม่นยำในการอ่านข้อมูลต่ำลง หรืออ่านข้อมูลไม่ได้เลย อย่างที่เราเห็นกันในซูเปอร์มาร์เก็ตเวลาแคชเชียร์รับชำระค่าสินค้า ก็จะต้องให้เวลา เครื่องอ่านบาร์โค้ด ได้ทำการอ่านข้อมูลอย่างชัดเจนด้วยการจ่อรหัสชัดๆ ไปที่เครื่องอ่านบาร์โค้ด และรอสักอึดใจให้ระบบได้ทำการอ่านข้อมูลนั่นเอง